ไม้พุ่มรอเลื้อย | -

First slide
QR-CODE

ชื่อวิทยาศาสตร์

Ficus foveolata Wall

ชื่อสามัญ

-

ชื่ออื่น

เดื่อเครือ ม้าทะลายโรง ม้าคอกแตก มันฤๅษี

วงค์ หมวดหมู่

MORACEAE

ประเภทพันธ์ไม้

ไม้พุ่มรอเลื้อย

ชนิดของลำต้น

ลำต้นเหนือดิน

สภาพทางนิเวศน์

การขยายพันธ์

ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการตัดเถาม้ากระทืบโรงประมาณ 1 คืบแล้วนำมาปักชำ

การจัดเรียงตัวของใบ

เรียงสลับ

รูปร่างของใบ

รูปใบหอก

แบ่งชนิดของผล

ผลเดี่ยว

ประเภทของดอก

ช่อดอก

ประเภทของดอก

ช่อดอก

ประเภทของเปลือก

เปลือกไม้ร่อง

ลักษณะของใบ

มีใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ ลักษณะของใบคล้ายรูปหอก หรือรูปไข่ หรือเป็นรูปขอบขนานแกมวงรี ก้านใบและผิวใบด้านล่าง รวมไปถึงฐานรองดอกอ่อนจะมีขน ใบกว้างประมาณ 7-9 เซติเมตร และยาวประมาณ 12-18 เซนติเมตร

ลักษณะของใบ

มีใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ ลักษณะของใบคล้ายรูปหอก หรือรูปไข่ หรือเป็นรูปขอบขนานแกมวงรี ก้านใบและผิวใบด้านล่าง รวมไปถึงฐานรองดอกอ่อนจะมีขน ใบกว้างประมาณ 7-9 เซติเมตร และยาวประมาณ 12-18 เซนติเมตร

ลักษณะของผล

ลักษณะของผลเป็นรูปทรงกลม เปลือกผลสีเขียว ภายในผลเนื้อมีสีแดง

ลักษณะของดอก

ออกดอกเป็นช่อ ลักษณะเป็นทรงกลมคล้ายผลออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ ดอกเป็นแบบแยกเพศอยู่ในช่อเดียวกัน ที่ฐานรองดอกเป็นรูปทรงกลม

รายละเอียดของเปลือก

เปลือกมีสีน้ำตาลและสาก มีปุ่มขึ้นคล้าย หนาม เนื้อไม้สีขาวและมีน้ำยางสีขาว

ลักษณะของต้น

จัดเป็นไม้พุ่มรอเลื้อย เป็นไม้เถาขนาดใหญ่มักเลื้อยเกาะไปตามพรรณไม้ชนิดอื่น มีความสูงได้ถึง 25 เมตร

ประโยชน์

ใช้ เถา บำรุงกำลัง ต้น บำรุงร่างกาย บำรุงความกำหนัด ช่วยขับน้ำย่อย เนื้อไม้ แก้ปวดหลัง แก้ปวดหัว ทั้งต้น บำรุงธาตุ บำรุงกำลัง แก้ประดงเลือด ที่ทำให้เป็นจุดห้อเลือด เป็นเม็ดตุ่มตามผิวกาย แก้ประดงลม แก้น้ำเหลืองเสีย ช่วยย่อยอาหาร ทำให้อาหารมีรส ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ใช้ ลำต้น ผสมลำต้นคุย ต้มน้ำดื่ม บำรุงกำลัง เป็นยาอายุวัฒนะ และยังช่วยในเรื่องระบบไหลเวียนโลหิต

สถานที่พบ

ส่วนป่าวิทยาลัย