ไม้ล้มลุก | -

First slide
QR-CODE

ชื่อวิทยาศาสตร์

Aloe barbadensis Miller

ชื่อสามัญ

-

ชื่ออื่น

ว่านไฟไหม้ (เหนือ) หางตะเข้ (ภาคกลาง)

วงค์ หมวดหมู่

LILIACEAE

ประเภทพันธ์ไม้

ไม้ล้มลุก

ชนิดของลำต้น

ลำต้นใต้ดิน

สภาพทางนิเวศน์

การขยายพันธ์

แยกหน่อ

การจัดเรียงตัวของใบ

เรียงสลับ

รูปร่างของใบ

รูปเข็ม

แบ่งชนิดของผล

ผลเดี่ยว

ประเภทของดอก

ช่อดอก

ประเภทของดอก

ช่อดอก

ประเภทของเปลือก

ไม่มี

ลักษณะของใบ

ว่านหางจระเข้ เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว และออกเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับซ้อนสับหว่างกัน จากโคนต้นไปปลายยอด ใบมีความกว้าง 5-12 ซม. ความยาว 30-80 ซม. ใบมีลักษณะอูม และอวบน้ำ โคนหนากว้าง และค่อยเรียวเล็กลงจนถึงปลายใบ ส่วนขอบใบจะมีหนามตลอดจากโคนใบถึงปลายใบ ผิวใบหรือเปลือกมีสีเขียวอ่อนหรือเขียวเข้ม ใบอ่อนมีประสีขาว เปลือกใบหนาประมาณ 1-2 มิลลิเมตร และเปลือกมีน้ำยางสีเหลือง ถัดมาด้านในจะเป็นเนื้อใบที่มีลักษณะเป็นวุ้นใส วุ้นนี้ประกอบด้วยเมือกลื่น

ลักษณะของใบ

ว่านหางจระเข้ เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว และออกเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับซ้อนสับหว่างกัน จากโคนต้นไปปลายยอด ใบมีความกว้าง 5-12 ซม. ความยาว 30-80 ซม. ใบมีลักษณะอูม และอวบน้ำ โคนหนากว้าง และค่อยเรียวเล็กลงจนถึงปลายใบ ส่วนขอบใบจะมีหนามตลอดจากโคนใบถึงปลายใบ ผิวใบหรือเปลือกมีสีเขียวอ่อนหรือเขียวเข้ม ใบอ่อนมีประสีขาว เปลือกใบหนาประมาณ 1-2 มิลลิเมตร และเปลือกมีน้ำยางสีเหลือง ถัดมาด้านในจะเป็นเนื้อใบที่มีลักษณะเป็นวุ้นใส วุ้นนี้ประกอบด้วยเมือกลื่น

ลักษณะของผล

ผลว่านหางจระเข้ เป็นผลแห้ง มีลักษณะเป็นเหลี่ยมแบน สีน้ำตาล

ลักษณะของดอก

ดอกว่านหางจระเข้แทงออกเป็นช่อ ช่อดอกแทงออกบริเวณกลางต้น มีช่อดอกเป็นก้านยาวประมาณ 40-90 เซนติเมตร มีดอกย่อยรวมเป็นกระจุกของช่อดอกที่ปลายก้าน ดอกย่อยหรือดอกแต่ละดอกมีลักษณะเป็นหลอดห้อยลง ประกอบด้วยกลีบดอก 6 กลีบ รูปทรงกระบอกยาว 2.5-3 เซนติเมตร กว้างประมาณ 0.7-1 เซนติเมตร มีโคนกลีบเชื่อมติดกัน แต่ละกลีบมีหลายสีคละกัน โดยกลีบดอกจะแบ่งเป็น 2 ชั้น ชั้นละ 3 กลีบ ถัดมาด้านในมีเกสรตัวผู้ 6 อัน ด้านล่างสุดเป็นรังไข่

รายละเอียดของเปลือก

ไม่มี

ลักษณะของต้น

ว่านหางจระเข้เป็นไม้ล้มลุก มีลำต้นประมาณ 0.5-1 เมตร (รวมความสูงของใบด้วย) ลำต้นเป็นส่วนที่อยู่แกนกลาง มีลักษณะข้อปล้องสั้นๆ มีรูปร่างทรงกลม ลำต้นสามารถแตกหน่อใหม่ออกด้านข้าง

ประโยชน์

เป็นพืชที่ถูกนำมาใช้ประโยชน์มากชนิดหนึ่ง ทั้งในด้านการรักษาโรค ผลิตภัณฑ์อาหาร เครื่องดื่ม รวมถึงเครื่องสำอาง ที่จำหน่ายทั้งในประเทศ และส่งออกต่างประเทศ

สถานที่พบ

ส่วนป่าวิทยาลัย