ไม้ล้มลุก |  Wildbetal Leafbush

First slide
QR-CODE

ชื่อวิทยาศาสตร์

Piper sarmentosum Roxb.

ชื่อสามัญ

Wildbetal Leafbush

ชื่ออื่น

ชะพลู, ช้าพลู

วงค์ หมวดหมู่

ยังไม่จัดหมวด

ประเภทพันธ์ไม้

ไม้ล้มลุก

ชนิดของลำต้น

ลำต้นเหนือดิน

สภาพทางนิเวศน์

การขยายพันธ์

ขยายพันธ์โดยปักชำในดินร่วนซุย รดน้ำให้ชุ่มในระยะที่ต้นกล้ายังไม่แข็งแรง ไม่ควรให้โดนแดดมากนัก

การจัดเรียงตัวของใบ

เรียงสลับ

รูปร่างของใบ

รูปหัวใจ

แบ่งชนิดของผล

ไม่มี

ประเภทของดอก

ช่อดอก

ประเภทของดอก

ช่อดอก

ประเภทของเปลือก

เปลือกไม้เรียบ

ลักษณะของใบ

ใบมีลักษณะคล้ายรูปหัวใจรูปทรงคล้ายกับใบพลู แต่มีขนาดใบเล็กกว่า มีสีเขียวเข้มเป็นใบเดี่ยว รสชาติเผ็ดอ่อน ๆ

ลักษณะของใบ

ใบมีลักษณะคล้ายรูปหัวใจรูปทรงคล้ายกับใบพลู แต่มีขนาดใบเล็กกว่า มีสีเขียวเข้มเป็นใบเดี่ยว รสชาติเผ็ดอ่อน ๆ

ลักษณะของผล

-

ลักษณะของดอก

ดอกชะพลู ดอกออกเป็นช่อ ออกบริเวณปลายยอด อัดแน่นกันเป็นทรงกระบอกขนาดเล็ก มีลักษณะคล้ายดีปลีแต่สั้นกว่า มีสีขาว ก้านช่อดอกเป็นก้านโดด

รายละเอียดของเปลือก

-

ลักษณะของต้น

ชะพลู เป็นพืชผักสมุนไพร เป็นพืชมีอายุยืนยาว ที่เจริญเติบโตได้ง่ายๆ มีความสูงประมาณ 60 ซม. มีลำต้นกลมๆ ต้นของชะพลูมีสีเขียวนว

ประโยชน์

ในใบชะพลูมีสารบีตา-แคโรทีนสูงมาก ใบนำมารับประทานกับเมี่ยงคำ นำมาแกงใส่กะทิ ข้าวยำ ห่อหมก หรือเป็นผักจิ้มน้ำพริก ทางภาคใต้ใส่ในแกงกะทิหอยขม แกงคั่วปู[8]ในจังหวัดจันทบุรีใส่ในแกงป่าปลา[9] ในใบมีออกซาเลตสูง จึงไม่ควรรับประทานมากเป็นประจำ ชะพลูเป็นพืชที่มีสรรพคุณทางยา ดอกทำให้เสมหะแห้ง ช่วยขับลมในลำไส้ รากขับเสมหะให้ออกมาทางระบบขับถ่าย ขับลมในลำไส้ ทำให้เสมหะแห้ง ต้นขับเสมหะในทรวงอก ใบมีรสเผ็ดร้อน ทำให้เจริญอาหาร ขับเสมหะ ใบ ต้น และดอกใช้ขับเสมหะ รากใช้ขับลม น้ำต้มทั้งต้นช่วยลดน้ำตาลในเลือดของกระต่ายที่เป็นเบาหวานได้

สถานที่พบ

ส่วนป่าวิทยาลัย