ไม้พุ่ม | -

First slide
QR-CODE

ชื่อวิทยาศาสตร์

Hibiscus rosa-sinensis L.

ชื่อสามัญ

-

ชื่ออื่น

ชบา (ภาคกลาง); ชบาขาว, ชุมบา (ปัตตานี); บา (ภาคใต้); ใหม่, ใหม่แดง (ภาคเหนือ)

วงค์ หมวดหมู่

SAPINDACEAE

ประเภทพันธ์ไม้

ไม้พุ่ม

ชนิดของลำต้น

ลำต้นเหนือดิน

สภาพทางนิเวศน์

การขยายพันธ์

ปักชำ เสียบยอด ติดตา

การจัดเรียงตัวของใบ

เรียงสลับ

รูปร่างของใบ

รูปรี

แบ่งชนิดของผล

ผลรวม

ประเภทของดอก

ดอกเดียว

ประเภทของดอก

ดอกเดียว

ประเภทของเปลือก

เปลือกไม้เรียบ

ลักษณะของใบ

ใบเรียงสลับ ใบเดี่ยว รูปไข่ กว้าง 5-9 ซม. ยาว 7-12 ซม. โคนใบมนหรือกว้าง ปลายใบแหลม ขอบใบหยักมนหรือ จักฟันเลื่อยหรือเว้าเป็น 3 พู แผ่นใบบาง สีเขียวเข้ม ก้านใบยาว 2-4 ซม. มีหูใบแบบ free lateral stipule

ลักษณะของใบ

ใบเรียงสลับ ใบเดี่ยว รูปไข่ กว้าง 5-9 ซม. ยาว 7-12 ซม. โคนใบมนหรือกว้าง ปลายใบแหลม ขอบใบหยักมนหรือ จักฟันเลื่อยหรือเว้าเป็น 3 พู แผ่นใบบาง สีเขียวเข้ม ก้านใบยาว 2-4 ซม. มีหูใบแบบ free lateral stipule

ลักษณะของผล

ผลเดี่ยวแบบ capsule สีน้ำตาล เมื่อแก่จะแห้งและแตกเป็น 5 แฉก

ลักษณะของดอก

ดอกเดี่ยวออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง กลีบดอกชั้นเดียวถึงดอกซ้อน เส้นผ่านศูนย์กลาง 7-15 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ สีเขียว กลีบดอก 5 กลีบ มีสีต่างๆ เช่น แดง ชมพู ส้ม ขาว เหลือง ปลายกลีบดอกมนและกลม ก้านเกสรเพศเมียและเพศผู้เชื่อมกันเป็นหลอดยาว โผล่พ้นกลีบดอก

รายละเอียดของเปลือก

เปลือกลำต้นมีเส้นใยและยางเมือก สามารถดึงลอกออกเป็นเส้นเชือกได้

ลักษณะของต้น

เป็นไม้พุ่มขนาดกลาง เนื้ออ่อน เปลือกค่อนข้างเหนียว ลำต้นสูงประมาณ 8 ฟุต

ประโยชน์

เปลือกของต้น ใช้นำมาต้มบ้านได้ มาเป็นยาหม้อแก้ท้องร่วง เนื้อไม้ สามารถนำมาใช้เป็นเครื่องประดับ เนื้อลำไย สามารถบริโภคได้ ถ้านำไปตากแห้ง สามารถนำมาเป็นยาบำรุงกำลัง ให้หลับสบาย และเจริญอาหาร

สถานที่พบ

ส่วนป่าวิทยาลัย