ไม้ยืนต้น | ชะมวง

First slide
QR-CODE

ชื่อวิทยาศาสตร์

Garcinia nigrolineata Planch.

ชื่อสามัญ

ชะมวง

ชื่ออื่น

ยอดมวง

วงค์ หมวดหมู่

CLUSIACEAE

ประเภทพันธ์ไม้

ไม้ยืนต้น

ชนิดของลำต้น

ลำต้นเหนือดิน

สภาพทางนิเวศน์

การขยายพันธ์

ชะมวงสามารถเจริญ เติบโตในดินทุกชนิด จะปลูกในดินร่วนปนทราย ดินที่มีความชุ่มชื้นพอเหมาะ น้ำไม่ขัง สามารถปลูกได้ทั่วทุกภูมิภาค และปลูกได้ทุกฤดูในประเทศไทย เป็นพืชที่ทนทานต่อความแห้งแล้งได้ดี การปลูกใช้เมล็ดปักชำหรือตอนกิ่ง ปลูกลงในแปลงดินที่เตรียมไว้ โดยนำใส่ลงในลงหลุมปลูก พร้อมกลบดินให้แน่นพอประมาณ ให้มีระยะห่างระหว่างต้นประมาณ 4?4 ม.

การจัดเรียงตัวของใบ

เรียงตรงข้าม

รูปร่างของใบ

รูปเข็ม

แบ่งชนิดของผล

ผลรวม

ประเภทของดอก

ดอกสมบูรณ์

ประเภทของดอก

ดอกสมบูรณ์

ประเภทของเปลือก

เปลือกไม้เรียบ

ลักษณะของใบ

ป็นใบเดี่ยว ใบอ่อนสีเขียวอ่อนหรือเขียวอมม่วงแดง ใบแก่สีเขียวเข้ม (สีน้ำเงินเข้ม) ใบออกเป็นคู่ตรงข้ามกัน บริเวณปลายกิ่งมักแตกเป็น 1-3 ยอด ตัวใบค่อนข้างหนาและแข็งก้านใบสีเขียวและยาว 1.2-1.9 เซนติเมตรตัวใบยาว 18-20 เซนติเมตร ขอบใบเรียบมีกลิ่นเล็กน้อย เส้นใบไม่ชัด แต่ด้านหลังของใบเห็นเส้นกลาง

ลักษณะของใบ

ป็นใบเดี่ยว ใบอ่อนสีเขียวอ่อนหรือเขียวอมม่วงแดง ใบแก่สีเขียวเข้ม (สีน้ำเงินเข้ม) ใบออกเป็นคู่ตรงข้ามกัน บริเวณปลายกิ่งมักแตกเป็น 1-3 ยอด ตัวใบค่อนข้างหนาและแข็งก้านใบสีเขียวและยาว 1.2-1.9 เซนติเมตรตัวใบยาว 18-20 เซนติเมตร ขอบใบเรียบมีกลิ่นเล็กน้อย เส้นใบไม่ชัด แต่ด้านหลังของใบเห็นเส้นกลาง

ลักษณะของผล

ทรงกลมข้างผลเว้าเป็นพู เมื่อสุกมีสีเหลืองส้ม ผลมีเนื้อหนาสีเหลืองรสฝาด

ลักษณะของดอก

กลีบแข็งคล้ายดอกมะดัน สีนวลเหลือง มีกลิ่นหอมและออกจำนวนมาก ใหญ่ประมาณ 10-15 มม. ดอกออกตามกิ่ง

รายละเอียดของเปลือก

-

ลักษณะของต้น

เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางสูงประมาณ 10 ม. ลำต้นเกลี้ยงเละแตกกิ่งใบตอนบนของลำต้น เปลือกต้นสีดำน้ำตาลขรุขระ กิ่งย่อยผิวเรียบ

ประโยชน์

ราก : แก้ไข้ แก้ร้อนในกระหายน้ำ ถอนพิษไข้ แก้บิด ต้น : ให้ยางสีเหลืองใช้ย้อมผ้า ใบและผล : เป็นยาระบาย กัดฟอกเสมหะ แก้ธาตุพิการ แก้ไอ ฟอกโลหิต ใบอ่อน : สีแดงมีรสเปรี้ยวกินได้

สถานที่พบ

ส่วนป่าวิทยาลัย